โครงสร้างโลก
การเเบ่งโครงสร้างโลก
- โลกมีอายุมาเเล้วประมาณ 4600 ล้านปี
- โครงสร้างโลกเเบ่งออกได้เป็น 3 ชั้น ได้เเก่
- เปลือกโลก (Crust)
- เเก่นโลก (Core)
- ชั้นเปลือกโลกประกอบด้วยเปลือกโลกทวีปเเละเปลือกโลกมหาสมุทร มีความลึกตั้งเเต่ 5 ถึง 70 กิโลเมตร
- ชั้นเนื้อโลกมีความลึกประมาณ 2900 กิโลเมตร องค์ประกอบ
ส่วนใหญ่เป็นของเเข็ง
ส่วนใหญ่เป็นของเเข็ง
- ชั้นเนื้อโลกมีความลึก100 - 350กิโลเมตร เรียกว่า ชั้นฐานธรณีภาค(asthenosphere)เป็นช่วงชั้นหินหลอมละลายเรียกว่าเเมกมา
- ส่วนบนของชั้นเนื้อโลกกับชั้นเปลือกโลกรวมเรียกว่า ธรณีภาค(liteoshere)มีความหนาประมาณ 100 กิโลเมตร
- ชั้นเนื้อโลกที่มีความลึก350-2900 กิโลเมตร เป็นของเเข็งร้อน มีความเเน่นเเละหนืดมากกว่าตอนบนมีอุณหภูมิ2250-4500องศาเซลเซียส
- ชั้น
เเก่นโลกมีความลึกตั้งเเต่2900 กิโลมเตรลงไป
เเบ่งออกเป็นเเก่นโลกชั้นนอกมีความหนา2900-5100กิโลเมตรประกอบด้วยเหล็กเเละ
นิกเกิลที่หลอมละลายเป็นของเหลว
ส่วนเเก่นโลกชั้นในประกอบด้วยเหล็กเเละนิกเกิลเเต่เป็นของเเข็งเพราะมีความ
ดันอุณหภูมิสูง โดยมีอุณหภูมิสูงประมาณ 6000 องศาเซลเซียส
คลื่นปฐมภูมิ (P wave)
- เป็นคลื่นตามยาวที่เกิดจากความไหวสะเทือนในตัวกลาง โดยอนุภาคของตัวกลางนั้นเกิดการเคลื่อนไหวเเบบอัดขยายในเเนวเดียวกับที่ คลื่นส่งผ่านไป
- เคลื่อนที่ผ่านตัวกลางที่เป็นของเเข็ง
- วัดเเรงสะเทือนสามารถรับได้ก่อนชนิดอื่น
- มีความเร็วประมาณ 6 -8 km/s
- ทำให้เกิดการอัดหรือขยายตัวของชั้นหิน
คลื่นทุติยภูมิ (S wave)
- เป็น คลื่นตามขวางที่เกิดจากความไหวสะเทือนในตัวกลางโดยอนุภาคของตัวกลางเคลื่อน ไหวตั้งฉากกับทิศทางที่คลื่นผ่าน มีทั้งเเนวตั้งเเละเเนวนอน
- คลื่นชนิดนี้ผ่านได้เฉพาะตัวกลางที่เป็นของเเข็งเท่านั้น
- ความเร็วประมาณ 3 -4 km/s
- ทำให้ชั้นหินเกิดการคดโค้ง
การเเบ่งโครงสร้างโลกตามลักษณะศักยภาพ
โครงสร้างภายในเเบ่งออกเป็น 5ส่วนโดย
1. ธรณีภาค (Lithosphere)
2.ฐานธรณีภาค(Asthenosphere)
3.เมโสเฟียร์(Mesophere)
4.เเก่นโลกชั้นนอก(Outer core)
5.แก่นโลกชั้นใน(Inner core)
1.ธรณีภาค คือ ประกอบด้วยเปลือกโลกทวีปเเละเปลือกโลกมหาสมุทร คลื่น P เเละ S เคลื่อนที่ช้าลงจนถึงเเนวเเบ่งเขตโมโฮวซึ่งอยู่ที่ระดับลึกประมาณ 100 km
2.ฐานธรณีภาค อยู่ใต้เเนวเเบ่งเขตโมโฮวิซิกลงไปจนถึงระดับ 700 km เป็นบริเวณที่คลื่นไหวสะเทือนมีความเร็วเพิ่มขึ้นตามระดับลึก เเบ่งเป็น 2 เขต
- เขตที่คลื่นไหวสะเทือนมีควาเร็วต่ำ ที่ ระดับลึก 100 - 400 กิโลเมตร P เเละ S มีความเร็วเพิ่มขึ้นอย่างไม่คงที่ เนื่องจากบริเวณนี้เป็นของเนื้ออ่อน อุณหภูมิที่สูงมากทำให้เเร่บางชนิดเกิดการหลอมตัวเป็นหินหนืด
- เขตที่มีการเปลี่ยนเเปลง อยู่ บริเวณเนื้อโลกตอนบบน ระดับลึก 400 - 700 กิโลเมตร Pเเละ มีความเร็วเพิ่มมากขึ้นมาก ในอัตราไม่สม่ำเสมอเนื่องจากบริเวณนี้มีการเปลี่ยนเเปลงโดยโครงสร้างของเเร่
3.เมโสเฟียร์ อยู่บริเวณเนื้อโลกชั้นล่างที่มีความลึก 700-2900 กิโลเมตร เป็นบริเวณที่คลื่นไหวสะเทือนมีความเร็วสม่ำเสมอเนื่องจากเป็นของเเข็ง
4.เเก่นโลกชั้นนอก ที่ระดับความลึก2900-5150กิโลเมตร คลื่นPลดความเร็วลงฉับพลัน ขณะที่Sไม่ปรากฎทั้งนี้เนื่องจากบริเวณนี้เป็นเหล็กหลอมละลาย
5.เเก่นโลกชั้นใน ที่ ระดับความลึก5150กิโลเมตรจนถึงความลึก6371กิโลเมตร ที่จุดศูนย์กลางของโลก คลื่นP ทวีความเร็วขึ้นเนื่องจากความกดดันเเรงกดดันภายในทำให้เหล็กเปลี่ยนสถานะ เป็นของเเข็ง
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น