บทที่ 3 ปรากฎการณ์ทางธรณีวิทยา

ปรากฎการณ์ทางธรณีวิทยา
แผ่นดินไหว
-  สาเหตุเเละกลไกในการเกิดแผ่นดินไหว
          - การเคลื่อนที่ของเปลือกโลกตามเเนวระหว่างรอยต่อของงแผ่นธรณีภาค

          - ทำให้เกิดเเรงพยายามกระทำต่อชั้นหินขนาดใหญ่ เพื่อจะทำให้ชั้นหินนั้นเเตกหัก

          - ขณะชั้นหินยังไม่เเตกหัก เกิดเป็ฯพลังงานศักย์ขึ้นที่ชั้นหินนั้น

          - เมื่อเเรงมีขนาดมากจนทำให้แผ่นหินเเตกหัก จะเกิดการถ่ายโอนพลังงานนั้นไปยังชั้นหินที่อยู่ติดกัน
          - การถ่ายโปนพลังงานเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องในรูปของคลื่น แผ่ออกไปทุกทิศทาง
          - คลื่นที่แผ่ขากขุดกำเนิดการสั่นสะเทือนขึ้นมายังเปลือกโลกได้เรียกคล่ื่นนี้ว่า คลื่นในตัวกลาง


          - อัตราเร็วในการเเผ่ของคลื่นแผ่นดินไหวขึ้นกับความมยืดหยุ่นเเละความหนาเเน่นของตัวกลาง

          - เรียกจุดกำเนิดการสั่นสะเทือนว่า ศูนย์เกิดแผ่นดินไหว (focus)
          -  ตำเเหน่งบนผิวโลกที่อยู่เหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหวเรียกว่า จุดเหนือศูนย์เกิด
          - แผ่นดินไหว(epicenter)ซึ่งจะมี คลื่นพื้นผิว กระจายออกไปจามเเนวผิวโลก

          - การระเบิดของภูเขาไฟอาจเป็นสาเหตุของแผ่นดินไหวได้

          - การเคลื่อนตัวของเเมกมาตามเส้นทางมายังปากปล่องภูเขาไฟ อาจทำให้เกิดแผ่นดินไหวก่อนที่เเมกมานั้นจะระเบิดออกมาเป็นลาวา

          - การกระทำของมนุษย์ เช่น การทดลองระเบิดปรมาณู ใต้ดินก็อาจจะเป็นสาเหตุของแผ่นดินไหว
         
คลื่นไหวสะเทือน
-  คลื่นไหวสะเทือนมี 2เเบบ

1.คลื่นในตัวกลาง

2.คลื่นพื้นผิว


คลื่นในตัวกลาง

คลื่นปฐมภูมิ(P wave) เเละคลื่นทุติยภูมิ(S wave)

คลื่นพื้นผิว


1.คลื่นเลิฟ ( Love wave) เป็นคลื่นที่ทำให้อนุภาคของตัวกลางสั่นในเเนวราบ โดยมีทิศทางตั้งฉากกับการเคลื่อนที่ของคลื่นสามารถทำให้ถนนขาดหรือเเม่น ้ำเปลี่ยนทิศทางการไหล
2.คลื่นเรย์ลี(R wave) เป็นคลื่นที่ทำให้อนุภาคตัวกลางสั่น ม้วนตัวขึ้นลงเป็นรูปวงรี ในเเนวดิ่ง โดยมีทิศทางเดียวกับการเคลื่อที่ของคลื่น สามารถทำให้พื้นผิวเเตกร้าว เเละเกิดเนินเขา ทำให้อาคารที่ปลูกอยู่ด้สนบนเกิดความเสียหาย




ไซโมกราฟ(seismo-graph)
       เป็นเครื่องมือบันทึกข้อมูลคลื่นแผ่นดินไหวมีเป็นเครือข่ายทั่วโลก




- บริเวณีที่มักเกิดแผ่นดินไหว
      -ตำเเหน่งของศูนย์เกิดแผ่นดินไหวมีความสัมพันธ์กับเเนวรอยต่อของแผ่นธรณีภาค
1.เเนวรอยต่อที่ล้อมรอบมหาสมุทรแปซิฟิก เป็นสาเหตของแผ่นดินไหว 80เปอร์เซ็นต์ ซึ่งมักจะรุนเเรง เรียกบริเวณนี้ว่า วงเเหวนเเห่งไฟ (ring of fire) ได้เเก่ ญี่ปุ่น ฟิลิปปินส์ตะวันตกของเเม๊กซิโก ตะวันตกเฉียงใต้จองสหรัฐอเมริกา



2.เเนวรอยต่อภูเขาเเอลป์เเละภูเขาหิมาลัย เป็นเเหล่งกำเนิดแผ่นดินไหว 15เปอร์เซ็นต์ ได้เเก่ พม่า อัฟกานิสถาน อิหร่าน ตุรกี เเถบทะเลเมดิเตอร์เรเนียนในยุโรป



3.เเนวรอยต่อที่เหลือเป็นสาเหตุของอีก 5 เปอร์เซ็นต์ของแผ่นดินไหว ได้เเก่ บริเวณสันกลางมหาสมุทรต่างๆ ได้เเก่ บริเวณเทือกเขากลางมหาสมุทรแอตเเลนติกเเนวสันเขาในมหาสมุทรอินเดีย เเละเเนวสันเขาในมหาสมุทรอาร์กติก


ความรุนเเรงของการเกิดแผ่นดินไหว
- ความรุนเเรงของแผ่นดินไหว ขึ้นกับปริมาณพลังงานที่ปลดปล่อยออกมาจากศูนย์เกิดแผ่นดินไหว

- ความรุนเเรงของแผ่นดินไหว กำหนดจากผลกระทบหรือความเสียหายที่เกิดบนโลก ณ จุดสังเกต

- หน่วยวัดความรุนเเรงของแผ่นดินไหว คือ ริกเตอร์

- น้อยกว่า 2.0 ริกเตอร์ เป็นแผ่นดินไหวขนาดเล็ก

- 6.0 ริกเตอร์ขึ้นไป จัดเป็นแผ่นดินไหวรุนเเรง

มาตราเมอร์คัลลี
คือ มาตราวัดความรุนเเรงของแผ่นดินไหว เเบ่งเป็น 12 ระดับ

1.คนไม่รู้สึกสั่นไหวเเต่เครื่องมือตรวจจับได้

2.คนในอาคารสูงรู้สึกได้

3.คนในอาคารเเม้ไม่สูงรู้สึกได้

4.คนในอาารเเละคนนอกอาคารบางส่วนรู้สึกได้ ของในอาคารสั่นไหว

5.รู้สึกได้ทุกคน ของขนาดเล็กมีการเคลื่อนที

6.วัตถุขนาดใหญ่ในอาคารมีการเคบื่อนที่

7.อาคารมาตราฐานปานกลางเสียหายเล็กน้อย

8.อาคารที่ออกเเบบพิเศษเสียหายเล็กน้อย อาคารมาตราฐานเสียหายมาก

9.อาคารที่ออกเเบบพิเศษเสียหายชัดเจน แผ่นดินเเยก

10.แผ่นดินเเยกถล่ม โคลนทรายพุ่งขึ้นจากรอยเเยก

11.ดินถล่มเเละเลื่อนไหล

12.ทุกสิ่งโดนทำลาย พื้นดินเป็นลอนคลื่น

แผ่นดินไหวในประเทศไทย

- พ.ศ 1003 ที่เวียงโยนกทำให้เวียงโยนกยุบจมลงกลายเป็นหนองน้ำใหญ่
- พ.ศ 1007 ยอดเจดีย์หักลงสี่เเห่ง
- พ.ศ 2008 ที่นครเชียงใหม่ ยอดเจดีย์หลวงหักลงมา
- พ.ศ 2506 มีแผ่นดินไหวรู้สึกได้ที่หรุงเทพมหานคร
- พ.ศ 2518 ศูนย์กลางอยู่ทีอำเภอท่าสองยาง จังหวัดตาก มีแผ่นดินไหวขนาด 5.9 ริกเตอร์ ที่อำเภอศรีสวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรี
- พ.ศ 2526 รู้สึกได้ในภาคกลางเเละเหนือ

แผ่นดินไหวในประเทศไทย
รอยลื่อนมีพลัง(active fault) คือ เเนวรอยเลื่อนบนเปลือกโลกที่เคลื่อนที่ได้ในประเทศไทยมีรอยเลื่อนที่อยู่ยริเวณภาคเหนือ เเละด้านตะวันตกของประเทศ
คาบอุบัติซ้ำ คือ ระยะเวลาครบรอบของแผ่นดินไหวที่เคยเกิดขึ้น ณ ที่นั้นมาก่อน อาจมีระยะเป็นพันปีหรือร้อยปี หรือน้อนกว่า

ภูเขาไฟ
การระเบิดของภูเขาไฟ
เกิดจากหินหนืที่อยู่ใต้เปลือกโลกถูกเเรง ดันอัดให้เเทรกรอยต่อขึ้นสู่ผิวโลกโดยมีเเรวปะทุหรือเเรงระเบิดเกิดขึ้น สิ่งที่พุ่งออกมาจากภูเขาไฟ ระเบิกก็คือหินหนืด ไอน้ำ ฝุ่นละออง เศษหินเเละเเก๊สต่างๆ โดยจะพุ่งออกมาจากปล่องงภูเขาไฟ
- ภูเขาไฟที่ดับเเล้วได้เกิดขึ้นมานานมากเเล้วนับได้เป็นเเสนล้านปี วัตถุที่พ่นออกมาเเข็งตัวกลายเป็นกินภูเขาไฟ
- ปัจจุบันทั่วโลกมีภูเขาไฟมีพลังอยู่ประมาณ 1500ลูก เเละกระจายอยูู่ในบริเวณรอยต่อของเเผ่นธรณีภาคโดยเฉพาะบริเวณวงเเหวนไฟ
- การระเบิกของภูเขาไฟเกิดจากการปะทุของเเมกมา เเก๊ส เถ้าจากใตตต้พื้นโลก
- ขณะระเบิดเเมกมาจะขึ้นมาตามปล่องภูเขาไฟ
- เมื่อหลุดออกมานอกภูเขาไๆฟจะเรียกเเมกมา นั้นว่า ลาวา มี อุณหภูมิ 1200องศาเซลเซียส

หินอัคนี เเบ่งเป็น 2ลักษณะ

เย็นตัวบนผิวโลก                              เย็นตัวใต้ผิวโลก

เย็นตัวเร็ว                                            เย็นตัวช้า


เนื้อละเอียด                                           เนื้อหยาบ


หินเเกรนิต เป็น หินอัคนี ที่เกิดขึ้นในชั้นหินอื่น ดังนั้นอัตราการการเย็นตตัวลงจึงช้า เกิดจากการตกผลึกของเเร่ได้มากสังเกตเห็นผลึกเเร่ต่างๆ ได้อย่างชัดเจน


หินภูเขาไฟ
- ความพรุนของหิน ขึ้นอยู่กับ อัตราการเย็นตัวของลาวา

- ตัวอย่างของหินจากภูเขาไฟ เช่น หินบะซอลต์ หินพัมมิช หินเเก้ว หินทัฟฟ์ หินออบซีเดียน


หินบะซอลต์
- เป็นหินที่เกิดจากการเย็นตัของลาวาที่ผิวโลก ดังนั้นจึงกระทบกับอากาศหรือน้ำส่งผลให้มีการเย็นตัวเร็วลักษณะของหินจะมี เม็ดละเอียดกว่าหินเเกรนิต เเเละมีรุพรุ่นเล็กน้อย

- เป็นต้นกำเนิดอัญมณีที่สำคัญ

- ถ้ามีปริมาณของ Si จะเป็นหินเเอนดีไซด์



หินพัมมิช
- เป็นหินที่เกิดจากการเย็นตัวอย่างรวดเร็วของลาวา ทำให้มีความพรุ่นสูง บางชิ้นลอยน้ำได้

- นำมาใชเป็นหินขขัดตัว




ภูมิลักษณ์ของภูเขาไฟ
 1.ที่ ราบสูงบะซอลต์ เกิดจากลาวาของหินบะซอลต์ที่มีความหนืดไม่มากนัก ไหลแผ่เป็นบริเวณกว้างและทับถมกันหลายชั้น เมื่อแข็งตัวกลายเป็นที่ราบและเนินเขา เช่น ที่ราบสูงบะซอลต์ บ้านซับบอน อำเภอหนองไผ่ จังหวัดเพชรบูรณ์ ที่ราบสูงเดคคาน ประเทศอินเดีย ที่ราบสูงแถบตะวันตกเฉียงเหนือของสหรัฐอเมริกา (รัฐวอชิงตัน) เป็นต้น
2.ภูเขา ไฟรูปโล่ เกิดจากลาวาของหินบะซอลต์ระเบิดออกมาแบบมีท่อ เป็นการระเบิดที่ไม่รุนแรง ลาวาส่วนหนึ่งจะไหลแผ่กระจายทับถมกันเป็นสันนูนเหมือนภูเขาไฟเดิมขยายตัวออก ปล่องภูเขาไฟเล็กๆ บนยอดจะจมลงไป ส่วนใหญ่จะมีลักษณะเตี้ยๆ กว้างๆ แบบกระทะคว่ำหรือโล่ เช่น ภูเขาไฟมัวนาลัวในหมู่เกาะฮาวาย เป็นต้น
 3.ภูเขา ไฟรูปกรวย เป็นภูเขาไฟที่เกิดขึ้นและรู้จักกันมากที่สุด มีรูปแบบของภูเขาไฟที่สวยงามที่สุด มีลักษณะเป็นภูเขาพูนสูงเป็นรูปโดมหรือกรวย อาจมีปล่องตรงกลางหรือไม่มีก็ได้ เพราะเมื่อภูเขาไฟดับแล้ว เนื้อลาวาแข็งตัวกลายเป็นหินอุดปล่องเอาไว้จนเต็มมองไม่เห็นปากปล่อง ภูเขาไฟรูปกรวยเกิดจากการพอกพูนของลาวาที่มีความหนืดมาก เมื่อถูกพ่นออกมาจึงไม่ไหลแผ่ออก มักเกิดจากการทับถมซ้อนกันหรือสลับกันระหว่างการไหลของลาวากับชิ้นส่วนของ ภูเขาไฟ เช่น ภูเขาไฟฟูจิยามา ประเทศญี่ปุ่น ภูเขาไฟเซนต์เฮเลนส์ ประเทศสหรัฐอเมริกา ภูเขาไฟมายอน ประเทศฟิลิปปินส์ ภูเขาไฟสุราบายา ประเทศอินโดนีเซีย เป็นต้น






ภูเขาไฟในประเทศไทย


  • ภูเขาไฟดอยผาคอกจำป่าแดด และปล่องภูเขาไฟดอยผาคอกหินฟู จังหวัดลำปาง
  • ภูเขาพระอังคาร ตำบลเจริญสุข อำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดบุรีรัมย์
  • ภูเขาหลวง จังหวัดสุโขทัย
  • ภูเขาพนมสวาย (วนอุทยานพนมสวาย) จังหวัดสุรินทร์ สถิติอยู่ที่ 52 ครั้ง
  • ภูเขาพนมรุ้ง จังหวัดบุรีรัมย์
  • ขากระโดง จังหวัดบุรีรัมย์

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น