บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง




 

โลกเเละการเปลี่ยนเเปลง

ทฤษฎีการแปรสัณฐานแผ่นธรณีภาค(plate tectonic)
  - เสนอโดย ดร.อัลเฟรด เวเกเนอร์ (D.r Alfred Wegener) 
   -ทฤษฎี : เเต่เดิมแผ่นดินยนโลกแผ่นดินผืนเดียวกัน เรียกว่า พันเจีย(Pangaea) แปลว่า แผ่นดินทั้งหมด
- ต่อมากอนด์วานาเเตกออกเป็น อินเดีย อเมริกาใต้เเละแอฟริกาส่วนออสเตรเลียยังคงเป็นส่วนหนึ้งของกอนด์วานา
- 200ล้านปีก่อนพันเจีบเเยกออกเป็น 2 ทวีปใหญ่ ได้เเก่ลอเรเซียอยู่ทางเหนือ ซึ้งยุโรปติดอยู่กับอเมริกาเหนือ เเละทวีปกอนด์นาอยู่ทางใต้


- 65ล้านปีก่อนมหาสมุทรเเอตเเลนติกเเยกตัวกว้างขึ้น ทำให้แอฟริกาเคลื่อนตัวห่างออกจากอเมริกาใต้

- ต่อมายุโรปเเละอเมริกาเหนือเเยกออกจากกัน โดยอเมริกาเหนือโค้งเช้าเชื่อมกับอเมริกาใต้ เเละออสเตรเลียเเยกออกจากเเอนตาร์กติกา


หลักฐานสนับสนุนทฤษฎีของเวเกเนอร์

- รอยต่อของเเผ่นธรณีภาค รูปร่างของทวีปบางทวีปเชื่อมต่อกันได้พอดี 

- ความคล้ายคบึงกันของกลุ่มหิน เเละเเนววภูเขา กลุ่มหินในอเมริกาใต้เเอนตาร์กติกา แอหริกา ออสเตรเลีย เเละอินเดีย เป็นหินที่เกิดในยุคคาร์บอนิเฟอรัสยุคจูเเรสซิกเหมือนกัน

- หินที่เกิดจากการสะสมตัวของตะกอนจากธารน้ำเเข็ง

- ซากสัตว์ดึกดำบรรพ์ มีการพบซากดึกดำบรรพ์ 4 ประเภท คือ มี โซซอรัส ลีสโทรซอรัส ไซโนกาทัส เเละกลอสโซเทรีส ในทวีปต่างๆที่เคยเป็นกอนด์วานา


- อายุบริเวณพื้นมหาสมุท จากการสำรวจมหาสมุทรแปซิฟิกเเอตเเลนติก เเละอินเดีย พบหินบะซอลต์ที่บริเวณหุบเขาทรุดเเละรอยเเยกบริเวณสันเขาใต้สมุทร
- ภาวะเเม่เหล็กโลกบรรพกาล (ร่องรอยสนามเเม่เหล็กโลกในอีต)ศึกษาจากหินบะซอลต์ที่มีเเร่เเมกนีไทต์
กระบวนการที่ทำให้เกิดการเคลื่อนท่ขิงแผ่นธรณี

- วงจรการพาความร้อน คือ กระบวนการที่สารร้อนภายในไหลเวียนเป็นวงจร ทำไห้เปลือกโลกกลางสมุทรยกตัวขึ้น

- เมื่อสารร้อนไหลเวียนขึ้นมาจะมีความหนาเเน่นเพิ่มขึ้นเเละมุดลงบริเวณร่องลึกใต้สมุทร



แผ่นธรณีโลก

ลักษณะการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีภาค
1. ขอบเเผ่นธรณีภาคเเยกออกจากกัน



2.ขอบแผ่นธรณีภาคเคลื่อนเข้าหากัน


1.ขอบเเผ่นธรณีภาคเเยกออกจากกัน
เนื่องจากการดันตัวของเเมกมาในชั้นธรณีภาค ทำให้เกิดรอยเเตกในชั้นหินเเข็ง เปลือกโลกตอนบนทรุดตัวกลายเป็นหุบเขาทรุด เมื่อเเมกมาเคลื่อนตัวเเทรกขึ้นมาตามรอยเเยก ทำให้แผ่นธรณีภาคใต้มหาสมุทรเคลื่อนตัวเเยกออกไปทั้งสองข้าง กระบวนการนี้เรียกว่า การขยายตัวของพื้นทะเลเเละปรากฎเป็นเทือกเขากลางมหาสมุทร


2.ขอบแผ่นธรณภาคเคลื่อนเข้าหากัน มี 3เเบบ
- แผ่นธรณีภาคใต้มหาสมุทรชนกับแผ่นธรณีภาคใต้มหาสมุทร

- แผ่นธรณีภาคใต้มหาสมุทรชนกับแผ่นธรณีภาคพื้นทวีป

- แผ่นธรณีภาคพื้นทวีปชนกับแผ่นธรณีภาคพื้นทวีป


3.ขอบเเผ่นธรณีภาคเคลื่อนที่ผ่านกัน
     เพราะเเต่ละแผ่นธรณีภาคมี อัตราการเคลื่อนที่ไม่เท่ากันทำให้ไถลเลื่อนผ่านมีลักษณะเป็นเเนวรอยเเตก เเคบยาวมีทิศทางตั้งฉากกับเทือกเขากลางสมุทรเเละร่องใต้ทะเลลึก เกิดแผ่นดินไหวรุนเเรงในระดับต้นๆ ในบริเวณภาคพื้นทวีป หรือมหาสมุทร 

การเปลี่ยนเเปลงลักษณะของเปลือกโลก


1.ชั้นหินคดโค้ง

คดโค้งรูปประทุน(anticline)เเละคดโค้งรูปประทุนหงาย(syncline)
 
 
 
 

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น